Union Library Management - v6.2
Union Library Management - v6.2
เปลี่ยนเป็นภาษาไทย

Change to English
 แสดงรายละเอียดบรรณานุกรม
  กลับหน้าหลัก

Marc Display : E-mail record : QR code ปิดหน้าต่าง
 ISBN  74-09-0413-7
 ผู้แต่ง  อรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ
 ชื่อเรื่อง  วจ.การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ ความสุข และความเครียดของประชากร ตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี / อรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ และ สนธยา ศรีเมฆ
 พิมพลักษณ์  ราชบุรี : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี, 2550
 เลขเรียก  1319 อ334ก 2550
 รูปเล่ม  83 หน้า ;ตาราง
 หมายเหตุ  รายงานวิจัย
 หมายเหตุ  Summary: บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมสุขภาพ ความสุข และ ความเครียด ของประชากรตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี จำนวน 3,387 คน ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ระหว่าง 1 ตุลาคม 2549 - 30 พฤษภาคม 2550 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ แบบวัดดัชนีความสุขของคนไทย และแบบวัดความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า
 หมายเหตุ  Review: ส่วนใหญ่เพศหญิง ร้อยละ 57.9 อายุระหว่าง 36 - 45 ปี ร้อยละ 20.5 ส่วนมากมีสถานภาพสมรส ร้อยละ 64.1 ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่ ประถมศึกษา 1 - 6 ร้อยละ 52.1 มีอาชีพ รับจ้าง ร้อยละ 33.2 และมีรายได้พอเพียง ร้อยละ 68.6
 หมายเหตุ  Scope and content: พฤติกรรมสุขภาพ พบว่าพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุเป็นพฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็นประจำสูงสุด ร้อยละ 60.8 รองลงมาคือ พฤติกรรมด้านเพศ ร้อยละ 27.5 และพฤติกรรมด้านการพักผ่อน / การนอนหลับ ร้อยละ 26.0 สำหรับพฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็นประจำน้อยที่สุด คือ พฤติกรรมด้านการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา / สารเสพติด ร้อยละ 5.1
 หมายเหตุ  Abstract: ระดับความสุข พบว่า มีความสุขมากกว่าคนทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 79.4 มีความสุขเท่ากับคนทั่วไป ร้อยละ 1.8 และมีความสุขน้อยกว่าคนทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 18.8 โดยมีความสุขมากที่สุด คือ สมาชิกในครอบครัวมีความรักและผูกพันต่อกัน ร้อยละ 51.5 รองลงมา คือ หากท่านป่วยหนัก เชื่อว่าสมาชิกในครอบครัวจะดูแลเป็นอย่างดี ร้อยละ 44.7 และท่านรู้สึกพอใจในชีวิต ร้อยละ 43.6 สำหรับความสุขที่น้อยที่สุด คือท่านรู้สึกว่าชีวิตของท่านมีแต่ความทุกข์ ร้อยละ 3.9
 หมายเหตุ  ระดับความเครียด พบว่า มีความเครียดสูง ร้อยละ 48.6 รองลงมา คือเครียดปานกลาง ร้อยละ 36.9 และเครียดรุนแรง ร้อยละ 10.4 ความเครียดที่พบมากที่สุด คือปวดหัว ร้อยละ 9.4 รองลงมาคือ กล้ามเนื้อตึงหรือปวด ร้อยละ 8.9 และเงินไม่พอใช้ ร้อยละ 7.6 สำหรับความเครียดที่น้อยที่สุด คือ รู้สึกเศร้าและรู้สึกสับสน ร้อยละ 1.4
 หมายเหตุ  ��ากผลการวิจัยดังกล่าว จะพบว่าความสุขจะเป็นปัจจัยที่สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และความทุกข์จะเป็นปัจจัยที่สะท้อนให้เห็นถึงผู้ที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดี ดังนี้การส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความสุข ลดความทุกข์ จะทำให้ประชาชนมีสุขภาวะที่ดีด้วย
 หัวเรื่อง  พฤติกรรมสุขภาพ
 หัวเรื่อง  วิจัย
 หัวเรื่อง  ประชากร
 หัวเรื่อง  ความสุข
 หัวเรื่อง  ความเครียดของประชากร
 ผู้แต่งร่วม  สนธยา ศรีเมฆ
รายการนี้ยังไม่มีแท็ก
คุณยังไม่ได้ล็อกอิน คุณสามารถมีกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์ได้ แต่ต้องล็อกอินก่อน ::
  ล็อกอิน
ลำดับที่ ประเภท เลขเรียก/บาร์โค้ด สถานที่ สถานะ
1. หนังสือ
หนังสือ
1319 อ334ก 2550 c.1 
  Barcode: R01319
ห้องสมุด วพ.พระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี.
►วิจัย
บนชั้น
   [แสดง 1/1 รายการ]

รายการใกล้เคียง
    ผู้แต่ง [อรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ]

    หัวเรื่อง [พฤติกรรมสุขภาพ]
    หัวเรื่อง [วิจัย]
    หัวเรื่อง [ประชากร]
    หัวเรื่อง [ความสุข]

BibComment


ยังไม่เคยถูกคอมเมนท์

คอมเมนท์ทรัพยากรรายการนี้
  คอมเมนท์: วจการสำรวจพฤติกร..
Bib 13399115413


 Union Library Management : ULibM
Copyright 2024. All Rights Reserved.